เนื่องจากปัญหาใหญ่ที่ก่อให้เกิดเป็นความเหลื่อมล้ำทางการศึกษามาจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีเด็ก และเยาวชนไทยจำนวนมากที่อยู่ในครอบครัวที่มีฐานะยากจน โอกาสในการศึกษาจึงมีน้อย เพราะขาดทุนการศึกษา และค่าเล่าเรียน ดังนั้น จึงควรมีกองทุนเพื่อการศึกษา เพื่อช่วยเหลือปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากการขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษาเล่าเรียน และให้โอกาสเด็ก หรือเยาวชนได้รับการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อวางรากฐานให้คุณภาพชีวิตเยาวชนให้ดีขึ้นต่อไป
คลื่น “ความเหลื่อมล้ำ” ทางการศึกษา ซัดเด็กไทยให้หายไประหว่างทาง ความยากจนซ้ำเติม “เด็กหลุดจากระบบ”
แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี
ณัฐพงศ์ ศิริชนะ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก และอนุกรรมการการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ กสศ. กล่าวเสริมว่า การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยวิธีปกตินั้นมีความยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขปัญหาด้วยระบบราชการที่ต้องได้รับการสั่งการจากข้างบน ที่เปรียบเสมือนการตัดเสื้อตัวเดียวใช้ทั้งประเทศ ในขณะที่ปัญหาความเหลื่อมล้ำของแต่ละจังหวัดที่พบเจอนั้นมีความแตกต่าง
'ความยากจน' อุปสรรคเด็กปฐมวัยไม่พร้อมเรียน
บุคลากรในโรงเรียนบางแห่งไม่สามารถจัดสรรเวลาไปเยี่ยมบ้านนักเรียนยากจน หรือเลือกใช้วิธีสอบถามจากนักเรียนแทน เพื่อให้กรอกรายละเอียดเสร็จทันตามกำหนด ข้อมูลที่ได้จึงไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง
ผู้ว่าราชการท่านมาแล้วก็ไป สุดท้ายคนที่จะต้องลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาร่วมกันก็ต้องเป็นคนในจังหวัดนั้นๆ”
คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ
บทเพลงจาก “พลังของผีเสื้อ”เรื่องราวดนตรีเปลี่ยนชีวิตและความเชื่อว่า “โลกใบนี้ยังมีพื้นที่เรียนรู้สำหรับเด็กทุกคน”
อดีตผู้ว่าฯ ระบุว่า ข้อมูลดังกล่าวเป็นเหตุผลสำคัญที่ผู้ว่าราชการจังหวัดไม่อาจนิ่งนอนใจ แต่อย่างไรก็ตาม การแก้ปัญหาด้านการศึกษาค่อนข้างมีความซับซ้อน การใช้ระบบวิธีปกติเพื่อแก้ไขปัญหาที่ไม่ปกติจึงทำได้ยาก
การมอบเงินช่วยเหลือเป็นเพียงจุดเริ่มต้นการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่ตรงไปตรงมาและเป็นรูปธรรม ทว่า ในท้ายที่สุดแล้ว หัวใจสำคัญของการแก้ไขความเหลื่อมล้ำ ย่อมเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของครัวเรือนไทย การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างการคมนาคม เครือข่ายการสื่อสาร การเติบโตทางเศรษฐกิจและอื่นๆ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา จึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับการมอบโอกาสทางการศึกษาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
ถึงตอนนี้ บางคนอาจตั้งคำถามว่าโรงเรียนเรียนขนาดเล็ก เด็กก็น้อย ทำไมครูต้องเพิ่มจำนวนให้เท่ากับเด็ก? ดร.อารีย์ ให้คำตอบว่าแม้จำนวนเด็กจะน้อย แต่พวกเขาก็เรียนคนละชั้น อายุไม่เท่ากัน นอกจากนี้ครูหลายคนยังมีภาระอื่นๆ นอกจากการสอน ทั้งทำกับข้าว ขับรถรับส่งก็มี บางแห่งยังทำหน้าที่เป็นภารโรง ครูหนึ่งคนจึงต้องรับภาระค่อนข้างเยอะและยังมีค่าสาธารณูปโภคที่ไม่แตกต่างกับโรงเรียนขนาดใหญ่อื่นๆ อีกด้วย
โครงการความร่วมมือเชื่อมร้อยพลังผู้คนในสังคมไทยที่มีเป้าหมาย พัฒนาคุณภาพการศึกษาและช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่ด้อยโอกาส เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้นกับสังคมไทย